“นักมายากลก็เหมือนนักประสาทวิทยาและนักจิตวิทยา เขาเป็นพวกแรกที่เข้าใจว่าจิตใจของคนทำงานอย่างไร พวกเขาทดสอบอะไรหลายอย่างกับผู้คนต่อหน้าต่อตา นักมายากลเข้าใจบางส่วนของจิตใจที่คนส่วนใหญ่ไม่รู้ นั่นคือเหตุผลว่าทำไมมายากลถึงได้ผล จะหมอ จะทนาย จะเป็นคนที่รู้วิธีสร้างเครื่องบิน 747 หรือจรวดนิวเคลียร์ พวกเขาไม่รู้หรอกว่าจิตใจของตนเปราะบางอย่างไร มันเป็นหลักการที่ต่างออกไป และมันก็เป็นหลักการที่ประยุกต์ใช้ได้กับมนุษย์ทุกคน” ทริสทัน แฮร์ริส (Tristan...
“สิบปีก่อนเข้าใจว่ามวลทำให้เวลาช้าลง แต่ไอน์สไตน์ตระหนักว่าความเร็วก็ทำให้เวลาช้าลงด้วย” หนังสือ ‘ความลี้ลับของเวลา’ (The Order of Time)1 ได้เล่าถึงทฤษฎีสัมพันธภาพของเวลาที่ค้นพบโดยไอน์สไตน์ไว้ว่า เวลาจะผ่านไปเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้นๆ ที่สัมพัทธ์กับวัตถุอื่นๆ กล่าวคือ วัตถุเคลื่อนที่จะมีช่วงเวลาสั้นกว่าวัตถุที่อยู่นิ่ง เช่น มีการทดลองใช้นาฬิกาความแม่นยำสูงวัดเวลาบนเครื่องบิน ปรากฏว่านาฬิกาบนเครื่องนั้นช้ากว่าเรือนที่อยู่บนพื้นดิน...
“เป็นไปได้อย่างไรที่มนุษย์เผ่าพันธุ์หนึ่งอุบัติมาบนโลกพร้อมกับความสูงส่งเหนือมนุษย์คนอื่น และแตกต่างออกไปราวกับเป็นสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใหม่ ประเด็นนี้ควรค่าแก่การพิจารณ์ รวมทั้งตั้งคำถามว่ามันเป็นหนทางแห่งความสุขหรือความทุกข์ของมนุษยชาติกันแน่” อารัมภบทเชิงวิพากษ์ในประเด็นที่ยากจะมองเห็นหากความไม่เท่ากันของมนุษย์กลายเป็นเรื่องสามัญ เมื่อชนชั้นวรรณะเป็นเรื่องปกติ ลุกลามไปถึงขั้นเอ่ยนามไม่ได้ อย่าว่าแต่ตั้งคำถาม โธมัส เพน (Thomas Paine)...
‘บูเล’ เป็นคำภาษาอินโดนีเซียที่ใช้เรียกสัตว์ที่มีผิวเผือก เช่น ควายเผือก วัวเผือก ช้างเผือก ฯลฯ คำที่ ‘เบเนดิกต์ แอนเดอร์สัน’ (Benedict Anderson) เสนอให้เพื่อนชาวอินโดนีเซียเรียกเขาแทนคำว่า ‘ตวน’ (แปลว่า ‘นายท่าน’) เพื่อนๆ ของเขาพึงใจกับข้อเสนอนี้จนไม่เพียงแต่ใช้เรียกเขา แต่ยังกลายเป็นคำสามัญที่ผู้คนใช้เรียกชาวต่างชาติผิวขาวในอินโดนีเซียจนถึงปัจจุบัน ...
“พระพุทธเจ้าที่เราวาดออกมา อาจไม่เหมือนพระพุทธเจ้าองค์ไหน นอกจากพุทธะในใจของเราเอง” ‘อาจารย์ดอน’ – ศุภโชค ชุมสาย ณ อยุธยา กล่าวขึ้นมาในช่วงเริ่มต้นห้องเรียน ‘วาดพุทธะ’ บนพื้นที่ชั้นห้าของวัชรสิทธา ที่เปลี่ยนเป็นสตูดิโอวาดภาพชั่วคราวตั้งแต่เช้าจรดเย็นของวันหยุดสุดสัปดาห์ ให้ผู้คนได้มาภาวนาผ่านการวาด ‘ทังก้า’ (Thangka)...
‘พบกับความเชื่อของคุณ’ บทที่เก้าจากหนังสือ Pleased to Meet Me หนังสือที่จะมาชวนให้คุณรู้จักตัวเองได้ดีกว่าที่เคย ผ่านวิทยาศาสตร์ที่เจาะลึกไปถึงยีน ดีเอ็นเอ จุลชีพ พันธุกรรม ที่จะทำให้คุณพบกับอารมณ์ รสนิยม การเสพติด และความเชื่อของคุณเองว่ามีที่มาที่ไปจากอะไร ไม่ใช่เพื่อให้เรายึดติดกับอัตลักษณ์เดิมที่เราเป็น...
“เมื่อคุณเรียกมันว่าสงคราม ผู้คนก็จะเริ่มตื่นตระหนก ตัวคุณจะกลายเป็นผู้ต่อสู้ และอีกฝ่ายกลายเป็นศัตรู” – ตัวละคร Major Bunny Colvin จากซีรีส์ The Wire เรื่องเล่าเกี่ยวกับสงครามไม่ได้เป็นเพียงแค่ฉากประวัติศาสตร์ หากยังเป็นภาษาที่เราใช้กันจนติดปากทุกวันนี้ – ต่อสู้กับความไม่ยุติธรรม...
“มนุษย์ต้องการสามสิ่งในการที่จะพึงพอใจต่อชีวิต หนึ่ง รู้สึกมีความสามารถทำในสิ่งที่ทำอยู่ สอง รู้สึกจริงแท้ต่อตัวตนที่เป็น และสาม รู้สึกสัมพันธ์กับผู้คนรอบตัว คุณค่าพวกนี้นั้นเป็นคุณค่าภายในต่อความสุข และสำคัญกว่าคุณค่า ‘ภายนอก’ เช่น ความสวยงาม เงินทอง หรือฐานะมากนัก” เซบาสเตียน ยุงเกอร์...
คุณตกหลุมรักครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่? ความรักที่ทำให้ตาเป็นประกาย หายใจไม่ทั่วท้อง มองอะไรก็นึกถึง ห้วงคำนึงวนเวียน คิดเขียนอ่านอยู่เพียงสิ่งอันเป็นที่รัก ปักใจแน่วแน่หมายมั่นว่านี่แหละสิ่งที่ชีวิตตามหา อยากรักษา ปกป้อง ปรารถนาให้สิ่งที่รักนี้ประสบพบแต่เรื่องดีดี ศ. ดร....
‘ตาสว่าง’ (Il Re di Bangkok) นิยายภาพ (Graphic Novel) ที่สร้างปรากฏการณ์เมื่อเปิดตัวไปในต้นปี 2563 มิติใหม่ของหนังสือนิยายที่เป็นการรวบรวมข้อมูลจากข้อเท็จจริง ทั้งจากการสัมภาษณ์ร่วมร้อยชั่วโมง ข้อมูลจากภาพถ่าย เอกสารสำคัญอีกมากมายตั้งแต่ทศวรรษ 2520 จนถึงทศวรรษ 2550 และใช้ศิลปะการประพันธ์ ภาพวาดกราฟิกถ่ายทอดฉากสำคัญของประวัติศาสตร์การเมืองไทยให้ออกมาเป็นหนังสือเล่มนี้ ...
“ฉันเขียนหนังสือมาให้คุณอ่าน คุณจะเรียกมันว่าอะไรก็สุดแล้วแต่ ในยามที่คุณรู้สึกเซ็ง เมื่อหยิบมาอ่านแล้วบางทีคุณอาจหายเซ็งขึ้นมาก็ได้ อาจจะรู้สึกดีขึ้นว่ามีคนที่เซ็ง เซ็ง เซ็ง กว่าคุณเยอะ เอ้อ ก็เซ็งกับชีวิตน่ะค่ะ ก็มันไม่มีอะไรเหลืออยู่อีกแล้วนอกจากความว่างเปล่าในชีวิตที่เหลือ ก็เลยต้องเขียนมา อย่างน้อยก็ทำให้มันมีเหลือบ้างก็ยังดี และจะได้ระงับความฟุ้งซ่านที่สับสน เพราะฉะนั้น นี่คือการเรียบเรียงชีวิตที่ได้เห็นและเป็นมาจนถึงทุกวันนี้ เขียนเล่าออกมาแบบบ้านๆ เท่านั้น” ...
“เสรีภาพเป็นแสงสว่าง มันจึงมีลักษณะดั่งเปลวไฟที่สีสายกับสายลม ขณะอาการเฉื่อยเชื่องอาจให้ความรู้สึกสงบเรียบร้อย แต่แท้จริงแล้วคือแผ่นน้ำแข็งที่ปกคลุมดินแดนเหน็บหนาว ณ ที่นั้นอาจไม่มีความร้อนรุ่มลานลน แต่ก็อาจปราศเสียสิ้นจากพลังชีวิต” ข้อความช่วงต้นจากหนังสือ ความฝันเดือนตุลา หนังสือรวบรวมปาฐกถาในวาระ 40 ปี 14 ตุลาคม ที่ เสกสรรค์...